ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Andromeda 513 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ปรับปรุงเพิ่ม
 
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์''' ('''ZWJ''' ย่อมาจาก zero-width joiner) คือ[[อักขระควบคุม]]ที่ใชัในการเรียงพิมพ์ในคอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อจัดการการเชื่อมต่อระหว่างอักษรตัวเขียนบางชนิด เช่น[[อักษรอาหรับ]] หรือ [[อักษรตระกูลพราหมี]] เมื่อใส่ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์ลงไปก่อนหรือหลังตัวอักษร จะเป็นการบังคับให้อักษรนั้นแสดงผลในรูปแบบที่เชื่อมต่อกับตัวเชื่อม เสมือนว่ามีอักษรอื่นอีกตัวอยู่ตรงตัวเชื่อมนั้น หรือใช้เพื่อเปลี่ยนการแปลงรูปอักษรเชื่อมต่อให้เป็นแบบอื่น ซึ่งอาจจำเป็นต้องใช้ในบางโอกาส ปกติแล้วตัวเชื่อมความกว้างศูนย์จะไม่สามารถมองเห็นได้ แต่อาจสังเกตได้จากอักษรรูปแบบเชื่อมต่อที่วางอยู่ลอย ๆ ในข้อความ
'''ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์''' ('''ZWJ''' ย่อมาจาก zero-width joiner) คือ[[อักขระควบคุม]]ที่ใชัในการเรียงพิมพ์ในคอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อจัดการการเชื่อมต่อระหว่างอักษรตัวเขียนบางชนิด เช่น[[อักษรอาหรับ]] หรือ [[อักษรตระกูลพราหมี]] เมื่อใส่ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์ลงไปก่อนหรือหลังตัวอักษร จะเป็นการบังคับให้อักษรนั้นแสดงผลในรูปแบบที่เชื่อมต่อกับตัวเชื่อม เสมือนว่ามีอักษรอื่นอีกตัวอยู่ตรงตัวเชื่อมนั้น หรือใช้เพื่อเปลี่ยนการแปลงรูปอักษรเชื่อมต่อให้เป็นแบบอื่น ซึ่งอาจจำเป็นต้องใช้ในบางโอกาส ปกติแล้วตัวเชื่อมความกว้างศูนย์จะไม่สามารถมองเห็นได้ แต่อาจสังเกตได้จากอักษรรูปแบบเชื่อมต่อที่วางอยู่ลอย ๆ ในข้อความ


ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์มีรหัส[[ยูนิโคด]] U+200D <ref>[http://www.unicode.org/charts/PDF/U2000.pdf Unicode Chart: General Punctuation]</ref> และมี [[HTML เอนทิตี]] เป็น {{&}}#8205; {{&}}#x200D; และ {{&}}zwj; <ref>[http://w3schools.com/tags/ref_symbols.asp HTML Symbol Entities Reference] จาก w3school.com</ref>
ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์มีรหัส[[ยูนิโคด]] U+200D<ref>[http://www.unicode.org/charts/PDF/U2000.pdf Unicode Chart: General Punctuation]</ref> และมี [[HTML เอนทิตี]] เป็น {{&}}#8205; {{&}}#x200D; และ {{&}}zwj;<ref>[http://w3schools.com/tags/ref_symbols.asp HTML Symbol Entities Reference] จาก w3school.com</ref>


== ตัวอย่าง ==
== ตัวอย่าง ==
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
|-
|-
| <big>[ka क] [virāma ्] [ZWJ] [ṣa ष]</big> || <big>क्‍ष</big>
| <big>[ka क] [virāma ्] [ZWJ] [ṣa ष]</big> || <big>क्‍ष</big>
|}
{| class="wikitable"
|+ [[อักษรมลยาฬัม]]<br /><span style="font-weight: normal;">(จนถึงยูนิโคดรุ่น 5.0; ในรุ่นหลังจากนั้น จะมีการจัดสรรตำแหน่งเฉพาะในตารางรหัส<ref>{{cite web|url=https://www.unicode.org/L2/L2007/07129-malayalam.pdf |format=PDF |title=Changes related to Malayalam in Unicode 5.1.0 from 5.0 |publisher=Unicode.org |access-date=2015-06-12 |df=dmy-all}}</ref>)</span>
|-
! ลำดับอักขระ !! การแสดงผล
|-
| <big>[Na ണ] [virāma ്] [ZWJ]</big> || <big>ണ്‍</big>
|-
| <big>[na ന] [virāma ്] [ZWJ]</big> || <big>ന്‍</big>
|-
| <big>[ra ര] [virāma ്] [ZWJ] </big> || <big>ര്‍</big>
|-
| <big>[la ല] [virāma ്] [ZWJ] </big> || <big>ല്‍</big>
|-
| <big>[La ള] [virāma ്] [ZWJ] </big> || <big>ള്‍</big>
|}
|}



รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 19:00, 22 สิงหาคม 2567

ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์ (ZWJ ย่อมาจาก zero-width joiner) คืออักขระควบคุมที่ใชัในการเรียงพิมพ์ในคอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อจัดการการเชื่อมต่อระหว่างอักษรตัวเขียนบางชนิด เช่นอักษรอาหรับ หรือ อักษรตระกูลพราหมี เมื่อใส่ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์ลงไปก่อนหรือหลังตัวอักษร จะเป็นการบังคับให้อักษรนั้นแสดงผลในรูปแบบที่เชื่อมต่อกับตัวเชื่อม เสมือนว่ามีอักษรอื่นอีกตัวอยู่ตรงตัวเชื่อมนั้น หรือใช้เพื่อเปลี่ยนการแปลงรูปอักษรเชื่อมต่อให้เป็นแบบอื่น ซึ่งอาจจำเป็นต้องใช้ในบางโอกาส ปกติแล้วตัวเชื่อมความกว้างศูนย์จะไม่สามารถมองเห็นได้ แต่อาจสังเกตได้จากอักษรรูปแบบเชื่อมต่อที่วางอยู่ลอย ๆ ในข้อความ

ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์มีรหัสยูนิโคด U+200D[1] และมี HTML เอนทิตี เป็น &#8205; &#x200D; และ &zwj;[2] ในผังแป้นพิมพ์แบบ InScript ซึ่งใช้สำหรับภาษาในประเทศอินเดีย จะพิมพ์ตัวเชื่อมความกว้างศูนย์โดยใช้แป้น Ctrl+Shift+1 ร่วมกัน อย่างไรก็ตาม ผังแป้นพิมพ์อื่นจำนวนมากใช้ตำแหน่งเดียวกับแป้น ']' ของแป้นพิมพ์แบบเควอร์ตี สำหรับพิมพ์อักขระนี้[3]

ตัวอย่าง

[แก้]
อักษรเทวนาครี
ลำดับอักขระ การแสดงผล
[ka क] [virāma ्] क्
[ka क] [virāma ्] [ZWJ] क्‍
[ka क] [virāma ्] [ṣa ष] क्ष
[ka क] [virāma ्] [ZWJ] [ṣa ष] क्‍ष
อักษรมลยาฬัม
(จนถึงยูนิโคดรุ่น 5.0; ในรุ่นหลังจากนั้น จะมีการจัดสรรตำแหน่งเฉพาะในตารางรหัส[4])
ลำดับอักขระ การแสดงผล
[Na ണ] [virāma ്] [ZWJ] ണ്‍
[na ന] [virāma ്] [ZWJ] ന്‍
[ra ര] [virāma ്] [ZWJ] ര്‍
[la ല] [virāma ്] [ZWJ] ല്‍
[La ള] [virāma ്] [ZWJ] ള്‍

อ้างอิง

[แก้]
  1. Unicode Chart: General Punctuation
  2. HTML Symbol Entities Reference จาก w3school.com
  3. "ചിത്രം:Inscript.jpg – Malayalam Computing". Malayalam.kerala.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 ตุลาคม 2011. สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2011. (ในภาษามลยาฬัม).
  4. "Changes related to Malayalam in Unicode 5.1.0 from 5.0" (PDF). Unicode.org. สืบค้นเมื่อ 12 มิถุนายน 2015.

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]